ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

By | 22 กันยายน 2019

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ปรับปรุงล่าสุด ตามพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2564

เรื่อง
มาตรา
บรรพ 1 หลักทั่วไป มาตรา 4 – 14
สภาพบุคคล มาตรา 15 – 18
ความสามารถ มาตรา 19 – 36
ภูมิลำเนา มาตรา 37 – 47
สาบสูญ มาตรา 48 – 64
นิติบุคคล มาตรา 65 – 77
สมาคม มาตรา 78 – 109
มูลนิธิ มาตรา 110 – 136
ทรัพย์ มาตรา 137 – 148
นิติกรรม มาตรา 149 – 153
การแสดงเจตนา มาตรา 154 – 171
โมฆะกรรมและโมฆียะกรรม มาตรา 172 – 181
เงื่อนไขและเงื่อนเวลา มาตรา 182 – 193
ระยะเวลา มาตรา 193/1- 193/8
อายุความ มาตรา 193/9 – 193/29
กำหนดอายุความ มาตรา 193/30 – 193/35
บรรพ 2 หนี้
วัตถุแห่งหนี้ มาตรา 194 – 202
ผลแห่งหนี้ มาตรา 203 – 225
รับช่วงสิทธิ มาตรา 226 – 232
การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ มาตรา 233 – 236
เพิกถอนการฉ้อฉล มาตรา 237 – 240
สิทธิยึดหน่วง มาตรา 241 – 250
บุริมสิทธิ มาตรา 251 – 252
1. บุริมสิทธิสามัญ มาตรา 253 – 258
2. บุริมสิทธิพิเศษ (ก) บุริมสิทธิเหนือสังหาริมทรัพย์ มาตรา 259 – 272
2. บุริมสิทธิพิเศษ (ข) บุริมสิทธิเหนืออสังหาริมทรัพย์ มาตรา 273 – 276
3. ลำดับแห่งบุริมสิทธิ มาตรา 277 – 280
4. ผลแห่งบุริมสิทธิ มาตรา 281 – 289
ลูกหนี้และเจ้าหนี้หลายคน มาตรา 290 – 302
โอนสิทธิเรียกร้อง มาตรา 303 – 313
ความระงับหนี้ ; การชำระหนี้ มาตรา 314 – 339
ปลดหนี้ มาตรา 340
หักกลบลบหนี้ มาตรา 341 – 348
แปลงหนี้ใหม่ มาตรา 349 – 352
หนี้เกลื่อนกลืนกัน มาตรา 353
สัญญา ; ก่อให้เกิดสัญญา มาตรา 354 – 368
ผลแห่งสัญญา มาตรา 369 – 376
มัดจำและเบี้ยปรับ มาตรา 377 – 385
เลิกสัญญา มาตรา 386 – 394
จัดการงานนอกสั่ง มาตรา 395 – 405
ลาภมิควรได้ มาตรา 406 – 419
ละเมิด ; ความรับผิดเพื่อละเมิด มาตรา 420 – 437
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด มาตรา 438 – 448
นิรโทษกรรม มาตรา 449 – 452
บรรพ 3 เอกเทศสัญญา
ซื้อขาย ; สภาพและหลักสำคัญของสัญญาซื้อขาย มาตรา 453 – 457
การโอนกรรมสิทธิ์ มาตรา 458 – 460
หน้าที่และความรับผิดของผู้ขาย ; การส่งมอบ มาตรา 461 – 471
ความรับผิดเพื่อชำรุดบกพร่อง มาตรา 472 – 474
ความรับผิดในการรอนสิทธิ มาตรา 475 – 482
ข้อสัญญาไม่ต้องรับผิด มาตรา 483 – 485
หน้าที่ของผู้ซื้อ มาตรา 486 – 490
การซื้อขายเฉพาะบางอย่าง ; ขายฝาก มาตรา 491 – 502
ขายตามตัวอย่าง ขายตามคำพรรณนา ขายเผื่อชอบ มาตรา 503 – 508
ขายทอดตลาด มาตรา 509 – 517
แลกเปลี่ยน มาตรา 518 – 520
ให้ มาตรา 521 – 536
เช่าทรัพย์ มาตรา 537 – 545
หน้าที่และความรับผิดของผู้ให้เช่า มาตรา 546 – 551
หน้าที่ความรับผิดของผู้เช่า มาตรา 552 – 563
ความระงับแห่งสัญญาเช่า มาตรา 564 – 571
เช่าซื้อ มาตรา 572- 574
จ้างแรงงาน มาตรา 575 – 586
จ้างทำของ มาตรา 587 – 607
รับขน มาตรา 608 – 609
รับขนของ มาตรา 610 – 633
รับขนคนโดยสาร มาตรา 634 – 639
ยืม ; ยืมใช้คงรูป มาตรา 640 – 649
ยืมใช้สิ้นเปลือง มาตรา 650 – 656
ฝากทรัพย์ มาตรา 657 – 671
วิธีการเฉพาะการฝากเงิน มาตรา 672 – 673
วิธีการเฉพาะสำหรับเจ้าสำนักโรงแรม มาตรา 674 – 679
ค้ำประกัน มาตรา 680 – 685
ผลก่อนชำระหนี้ มาตรา 686 – 692
ผลภายหลังชำระหนี้ มาตรา 693 – 697
ความระงับสิ้นไปแห่งการค้ำประกัน มาตรา 698 – 701
จำนอง มาตรา 702 – 714
สิทธิจำนองครอบเพียงใด มาตรา 715 – 721
สิทธิและหน้าที่ของผู้รับจำนองและผู้จำนอง มาตรา 722 – 727
การบังคับจำนอง มาตรา 728 – 735
สิทธิและหน้าที่ของผู้รับโอนทรัพย์สินซึ่งจำนอง มาตรา 736 – 743
ความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาจำนอง มาตรา 744 – 746
จำนำ มาตรา 747- 757
สิทธิและหน้าที่ของผู้จำนำและผู้รับจำนำ มาตรา 756 – 763
การบังคับจำนำ มาตรา 764- 768
ความระงับสิ้นไปแห่งการจำนำ มาตรา 769
เก็บของในคลังสินค้า มาตรา 770- 774
ใบรับของคลังสินค้าและประทวนสินค้า มาตรา 775 – 796
ตัวแทน มาตรา 797 – 806
หน้าที่และความรับผิดของตัวแทนต่อตัวการ มาตรา 807 – 814
หน้าที่และความรับผิดของตัวการต่อตัวแทน มาตรา 815 – 819
ความรับผิดของตัวการและตัวแทนต่อบุคคลภายนอก มาตรา 820 – 825
ความระงับสิ้นไปแห่งสัญญาตัวแทน มาตรา 826 – 832
ตัวแทนค้าต่าง มาตรา 833 – 844
นายหน้า มาตรา 845 – 849
ประนีประนอมยอมความ มาตรา 850 – 852
การพนันและขันต่อ มาตรา 853 – 855
บัญชีเดินสะพัด มาตรา 856 – 860
ประกันภัย มาตรา 861 – 868
ประกันวินาศภัย มาตรา 869 – 882
วิธีเฉพาะการประกันภัยในการรับขน มาตรา 883 – 886
ประกันภัยค้ำจุน มาตรา 887 – 888
ประกันชีวิต มาตรา 889 – 897
ตั๋วเงิน มาตรา 898 – 907
ตั๋วแลกเงิน ; การออกและการสลักหลังตั๋วแลกเงิน มาตรา 908 – 926
การรับรอง มาตรา 927 – 937
อาวัล มาตรา 938 – 940
การใช้เงิน มาตรา 941 – 949
การสอดเข้าแก้หน้า มาตรา 950
การสอดเข้าแก้หน้า (1) การรับรองเพื่อแก้หน้า มาตรา 951 – 953
การสอดเข้าแก้หน้า (2) การใช้เงินเพื่อแก้หน้า มาตรา 954 – 958
สิทธิไล่เบี้ยเพราะเขาไม่รับรองหรือไม่ใช้เงิน มาตรา 959 – 974
ตั๋วแลกเงินเป็นสำรับ มาตรา 975 – 981
ตั๋วสัญญาใช้เงิน มาตรา 982 – 986
เช็ค มาตรา 987 – 1000
อายุความ มาตรา 1001 – 1005
ตั๋วเงินปลอม ตั๋วเงินถูกลัก และตั๋วเงินหาย มาตรา 1006 – 1011
หุ้นส่วนและบริษัท มาตรา 1012 – 1024
ห้างหุ้นส่วนสามัญ ; บทวิเคราะห์ มาตรา 1025
ความเกี่ยวพันระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนด้วยกันเอง มาตรา 1026 – 1048
ความเกี่ยวพันระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนกับบุคคลภายนอก มาตรา 1049 – 1054
การเลิกและชำระบัญชีห้างหุ้นส่วนสามัญ มาตรา 1055 – 1063
การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนสามัญ มาตรา 1064 – 1072
การควบห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนเข้ากัน มาตรา 1073 – 1076
ห้างหุ้นส่วนจำกัด มาตรา 1077 – 1095
บริษัทจำกัด ; สภาพและการตั้งบริษัทจำกัด มาตรา 1096 – 1116
หุ้นและผู้ถือหุ้น มาตรา 1117 – 1143
วิธีจัดการบริษัทจำกัด มาตรา 1144 – 1149
กรรมการ มาตรา 1150 – 1170
ประชุมใหญ่ มาตรา 1171 – 1195
บัญชีงบดุล มาตรา 1196 – 1199
เงินปันผลและเงินสำรอง มาตรา 1200 – 1205
สมุดและบัญชี มาตรา 1206 – 1207
การสอบบัญชี มาตรา 1208 – 1214
การตรวจ มาตรา 1215 – 1219
การเพิ่มทุนและลดทุน มาตรา 1220 – 1228
หุ้นกู้ มาตรา 1229 – 1235
เลิกบริษัทจำกัด มาตรา 1236 – 1237
การควบบริษัทจำกัดเข้ากัน มาตรา 1238 – 1243
หนังสือบอกกล่าว มาตรา 1244 – 1245
การถอนทะเบียนบริษัทร้าง มาตรา 1246 (ยกเลิก)
การแปรสภาพห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน และห้างหุ้นส่วนจำกัดเป็นบริษัทจำกัด มาตรา 1246/1 – 1246/7
การชำระบัญชีห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด และบริษัทจำกัด มาตรา 1247 – 1273
การถอนทะเบียนห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจำกัด และบริษัทจำกัดร้าง มาตรา 1273/1 – 1273/4
สมาคม มาตรา 1274 – 1297
บรรพ 4 ทรัพย์สิน
บทเบ็ดเสร็จทั่วไป มาตรา 1298 – 1307
กรรมสิทธิ์ ; การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ มาตรา 1308 – 1334
แดนแห่งกรรมสิทธิ์ และการใช้กรรมสิทธิ์ มาตรา 1335 – 1355
กรรมสิทธิ์รวม มาตรา 1356 – 1366
ครอบครอง มาตรา 1367 – 1386
ภาระจำยอม มาตรา 1387 – 1401
อาศัย มาตรา 1402 – 1409
สิทธิเหนือพื้นดิน มาตรา 1410- 1416
สิทธิเก็บกิน มาตรา 1417 – 1428
ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์ มาตรา 1429 – 1434
บรรพ 5 ครอบครัว
การสมรส ; การหมั้น มาตรา 1435 – 1447/2
เงื่อนไขแห่งการสมรส มาตรา 1448 – 1460
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา มาตรา 1461 – 1464/1
ทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา มาตรา 1465 – 1493
ความเป็นโมฆะของการสมรส มาตรา 1494 – 1500
การสิ้นสุดแห่งการสมรส มาตรา 1501 – 1535
บิดามารดากับบุตร ; บิดามารดา มาตรา 1536 – 1560
สิทธิและหน้าที่ของบิดามารดาและบุตร มาตรา 1561 – 1584/1
ความปกครอง มาตรา 1585 – 1598/18
บุตรบุญธรรม มาตรา 1598/19 – 1598/37
ค่าอุปการะเลี้ยงดู มาตรา 1598/38 – 1598/41
บรรพ 6 มรดก
การตกทอดแห่งทรัพย์มรดก มาตรา 1599 – 1603
การเป็นทายาท มาตรา 1604 – 1607
การตัดมิให้รับมรดก มาตรา 1608- 1609
การสละมรดกและอื่นๆ มาตรา 1610 – 1619
สิทธิโดยธรรมในการรับมรดก มาตรา 1620 – 1628
การแบ่งทรัพย์มรดกระหว่างทายาท โดยธรรมในลำดับและชั้นต่าง ๆ มาตรา 1629 – 1631
การแบ่ง ส่วนมรดกของทายาทโดยธรรม ในลำดับและชั้นต่างๆ ; ญาติ มาตรา 1632 – 1634
คู่สมรส มาตรา 1635 – 1638
การรับมรดกแทนที่กัน มาตรา 1639 – 1645
พินัยกรรม มาตรา 1646 – 1654
แบบพินัยกรรม มาตรา 1655 – 1672
ผลและการตีความแห่งพินัยกรรม มาตรา 1673 – 1685
พินัยกรรมที่ตั้งผู้ปกครองทรัพย์ มาตรา 1686- 1692
การเพิกถอนและการตกไปแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม มาตรา 1693 – 1699
ความเสียเปล่าแห่งพินัยกรรมหรือ ข้อกำหนดพินัยกรรม มาตรา 1700 – 1710
วิธีจัดการและปันทรัพย์มรดก ; ผู้จัดการมรดก มาตรา 1711 – 1733
การรวบรวมจำหน่ายทรัพย์มรดกเป็นตัวเงิน และการชำระหนี้กับแบ่งปันทรัพย์มรดก มาตรา 1734 – 1744
การแบ่งมรดก มาตรา 1745 – 1752
มรดกที่ไม่มีผู้รับ มาตรา 1753
อายุความ มาตรา 1754 – 1755